จุดยืนชาติอาเชีย ต่อวิกฤตยูเครน

จุดยืนชาติอาเชีย ถือว่าเป็นความเคลื่อนไหวทางบวกของรัสเซียแต่ถ้าเกิดมีสงครามเกิดขึ้นจริงๆก็จะกระทบต่อหลายชาติในเอเชียเลยเช่นเดียวกัน ซึ่งตอนนี้ก็กำลังจับตาดูสถานการณ์กันอย่างใกล้ชิดชาติเหล่านี้มีประเทศไหนบ้างไปติดตามกันเลย

โดยตอนนี้ที่ฝรั่งเศสก็ได้พูดถึงวิกฤตยูเครนกันแทบจะทุกโต๊ะอาหารทุกครัวเรือนเลยและก็มีคำถามมาว่าแล้วคนเอเชียชาติเอเชียมีหน้าที่อย่างไรกับวิกฤตยูเครนที่กำลังจะเกิดขึ้นในตอนนี้ 

ดังนั้นเราก็เลยหาคำตอบมาให้เราไปเริ่มต้นกันที่ประเทศจีนกันก่อนเลยในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ประธานาธิบดีวลาดิเมียร์ปูตินของรัสเซียและประธานาธิบดีสีจิ้นผิงได้พบกันเป็นครั้งแรกที่กรุงปักกิ่งในรอบกว่า 2 ปีเลยนะตั้งแต่เกิด covid-19 

นอกจากนี้มีการออกแถลงการณ์ร่วมกันระหว่าง 2 ผู้นำ ประมาณ 5,300คำพูดถึงความสัมพันธ์ของสองประเทศที่มีต่อกันมายาวนานและเป็นครั้งแรกด้วยที่จีนนั้นแสดงความต่อต้านการขยายอิทธิพลของนาโต้และสนับสนุนข้อคัดค้านของรัสเซียที่เรียกร้องไม่ให้นาโต้รับยูเครนเข้าเป็นสมาชิก 

ทั้งสองประเทศได้ประกาศว่าต่อต้านการขยายอาณาเขตเพิ่มเติมของนาโตและก็ขอให้นาโต้ละทิ้งแนวคิดของสงครามเย็นขอให้เคารพอธิปไตยความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติตื่นๆด้วย

แต่ในแถลงการณ์ร่วมกันไม่ได้มีการเอ่ยถึงเรื่องยูเครนอย่างเป็นทางการแต่อย่างใด ซึ่งจีนมีความเห็นพร้อมของรัสเซียในเรื่องของบูรณภาพแห่งดินแดนเพราะว่าเป็นเรื่องที่ประเทศจีนค่อนข้างที่จะเซ็นสถีบ 

โดยเฉพาะในกรณีของไต้หวันที่ประเทศจีนนั้นบอกว่าไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของจีนแต่แม้ว่าจีนจะสนับสนุนรัสเซียจีนไม่ได้สนับสนุนรัสเซียรุกรานหรือว่าบุกยูเครน

เพราะว่าถ้าหากย้อนไปดูในช่วงไครเมียตอนนั้นจีนก็ไม่ได้สนับสนุนแต่อย่างใดและก็งดออกเสียงในคณะรัฐมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติด้วยในอีกมุมหนึ่งจีนก็มีความสัมพันธ์ที่ดีกับยูเครนในด้านการค้าและการลงทุนเรื่องของโครงสร้างพื้นฐาน 

ซึ่งมีเส้นทางรถไฟระหว่างจีนกับยูเครนโดยตรงโดยที่ไม่ได้ตัดผ่านรัสเซียด้วยอันนี้ก็เป็นอีกมุมหนึ่งที่จีน แม้สนับสนุนก็จริงแต่ไม่สนับสนุนให้มีการรุกรานหรือว่ามีสงคราม

นอกจากนี้เรามาดูที่ไต้หวันจับตากันให้ดีโดยเฉพาะประธานาธิบดีไต้หวันได้มีการเรียกประชุมสภาความมั่นคงของไต้หวันแล้วและได้มีการสั่งการว่าให้ตั้งคณะกรรมการพิเศษมาจับตาดูเลยเรื่องของพัฒนาการสถานการณ์เกี่ยวกับยูเครน

เพราะฉะนั้นผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกลับไต้หวันทำไมถึงเป็นแบบนี้เพราะว่านักวิเคราะห์ได้มองว่าทางไต้หวันเองกำลังจับตาดูบทบาทของสหรัฐว่าท้ายที่สุดแล้วหากเกิดขึ้นอะไรกลับกับยูเครนสหรัฐจะช่วยยูเครนมากน้อยขนาดไหนมันจะเป็นการส่งสัญญาณมาถึงไต้หวันด้วยเช่นเดียวกันถ้าในอนาคตมีวิกฤตเกิดขึ้นมาในช่องแคบไต้หวันสหรัฐพร้อมที่จะช่วยหรือไม่

 

สนับสนุนโดย.    สมัครยูฟ่าเบท365